วัดสีสะเกด หรือ วัดสะตะสะหัดสาราม ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางตัวเมืองนครหลวงเวียงจันทน์ ติดกับหอคำ พระราชวังหลวงของกษัตริย์ลาวสมัยก่อนสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2094 โดยพระเจ้าโพธิสารราช พระบิดาของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ในศตวรรษที่ 16
ในระยะที่ 2 วัดสิสะเกด สร้างขึ้นในวัดพฤหัสบดี ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 3 ปีขาน พ.ศ. 2361 โดย เจ้าอนุวงศ์กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ล้านช้างเวียงจันทน์ ถือว่าเป็นวัดที่สำคัญแห่งหนึ่ง ในนครหลวงเวียงจันทน์ ซึ่งอยู่ในระหว่างศึกสงครามหลายยุคหลายสมัย และเป็นวัดเดียว ที่ไม่เคยถูกทำลายเหมือนวัดอื่น ๆในเวียงจันทน์ หลังจากสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2367 พระเจ้าอนุวงศ์ก็ได้นำพาประชาชนลาวบำเพ็ญบุญกุศุลเฉลิมฉลองเป็นเวลา 9 วัน 9 คืน
สิ่งที่ได้ก่อสร้างพร้อมกันนี้มี หอพระไตรปิฎก
ภายในบริเวณหอพิพิธภัณฑ์มีกมเลียนล้อมรอบทั้ง 4 ด้าน แต่ละด้านมีพระพุทธรูปองค์เล็ก ๆ อยู่ตามฝาผนังที่ทำด้วยดินเผา ไม้ และอื่น ๆรวมทั้งหมดมี 6,840 องค์ ส่วนอยู่ด้านบนทำด้วยประทายเพชร มีจำนวน 120 องค์ แม่พิมพ์เดียวกัน พระพุทธรูป รวมทั้งหมด ทั้งองค์ใหญ่และเล็กรวมทั้งสิ้น 10,136 องค์ ซึ่งประชาชน ได้พร้อมใจ กันหล่อนำมาถวาย พระพุทธรูปจำนวนมากมายเหล่านี้หมายถึงศิษยานุศิษย์สาวกของพระพุทธเจ้า ตามพุทธประวัติได้กล่าวไว้ว่า เวลาพระองค์เสด็จไปแห่งหนใดสาวก และบริวาร ต้องติดตาม เพื่อรับฟังคำโอวาทพระธรรมคำสั่งสอนของพระองค์มิได้ขาด
เน้ือหาจากเว็บไซต์ : http://www.laos-discovery.com/sisaket.html
ในระยะที่ 2 วัดสิสะเกด สร้างขึ้นในวัดพฤหัสบดี ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 3 ปีขาน พ.ศ. 2361 โดย เจ้าอนุวงศ์กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ล้านช้างเวียงจันทน์ ถือว่าเป็นวัดที่สำคัญแห่งหนึ่ง ในนครหลวงเวียงจันทน์ ซึ่งอยู่ในระหว่างศึกสงครามหลายยุคหลายสมัย และเป็นวัดเดียว ที่ไม่เคยถูกทำลายเหมือนวัดอื่น ๆในเวียงจันทน์ หลังจากสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2367 พระเจ้าอนุวงศ์ก็ได้นำพาประชาชนลาวบำเพ็ญบุญกุศุลเฉลิมฉลองเป็นเวลา 9 วัน 9 คืน
สิ่งที่ได้ก่อสร้างพร้อมกันนี้มี หอพระไตรปิฎก
ภายในบริเวณหอพิพิธภัณฑ์มีกมเลียนล้อมรอบทั้ง 4 ด้าน แต่ละด้านมีพระพุทธรูปองค์เล็ก ๆ อยู่ตามฝาผนังที่ทำด้วยดินเผา ไม้ และอื่น ๆรวมทั้งหมดมี 6,840 องค์ ส่วนอยู่ด้านบนทำด้วยประทายเพชร มีจำนวน 120 องค์ แม่พิมพ์เดียวกัน พระพุทธรูป รวมทั้งหมด ทั้งองค์ใหญ่และเล็กรวมทั้งสิ้น 10,136 องค์ ซึ่งประชาชน ได้พร้อมใจ กันหล่อนำมาถวาย พระพุทธรูปจำนวนมากมายเหล่านี้หมายถึงศิษยานุศิษย์สาวกของพระพุทธเจ้า ตามพุทธประวัติได้กล่าวไว้ว่า เวลาพระองค์เสด็จไปแห่งหนใดสาวก และบริวาร ต้องติดตาม เพื่อรับฟังคำโอวาทพระธรรมคำสั่งสอนของพระองค์มิได้ขาด
เน้ือหาจากเว็บไซต์ : http://www.laos-discovery.com/sisaket.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น